ติดตั้งกล้องวงจรปิดด้วยตัวเอง

ติดตั้งกล้องวงจรปิดด้วยตัวเอง และการเดินสายไฟภายในบ้าน CCTV กล้องวงจรปิด

ติดตั้งกล้องวงจรปิดด้วยตัวเอง และการเดินสายไฟภายในบ้าน CCTV กล้องวงจรปิด

ติดตั้งกล้องวงจรปิดด้วยตัวเอง การทำงานกับไฟฟ้าไม่ใช่เรื่องยากลำบาก หรือ มีอันตราย โดยเฉพาะ การเดินสายไฟภายในบ้าน CCTV หากมีความเข้าใจถึงกำลังความแรงของกระแสไฟฟ้า และ ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่าถูกต้องเหมาะสม ก็จะสามารถประเมินการปรับปรุงการเพิ่มต่อ และ การซ่อมแซมอุปกรณ์ รวมทั้งบอกได้ว่างานเดินสายไฟส่วนไหนที่สามารถทำด้วยตนเองได้ หรือ ต้องใช้ช่างไฟฟ้ามืออาชีพ ซึ่งหากตัดสินใจว่าจะไม่ทำเองแล้ว ก็สามารถอาศัยเนื้อหาในบทความนี้นำไปวางแผนปรับปรุง หรือ มีความรู้เพียงพอที่จะติดต่อกับช่างได้

ก่อนจะลงมือทำงานกับระบบไฟฟ้าใดๆ ให้คำนึงถึงข้อควรระมัดระวังเรื่องความปลอดภัยเป็นสำคัญ และ เสริมความปลอดภัยในการใช้งาน และ ระบบรักษาความปลอดภัยภายในบ้าน

หลักการทำงานของระบบไฟฟ้า

ไฟฟ้าเป็นกระแสของอนุภาคประจุไฟฟ้าลบที่เรียกว่า อิเล็กตรอน ไหลผ่านตัวนำไฟฟ้าซึ่งคล้ายกับน้ำไหลผ่านท่อประปา

ตัวนำฟ้า คือ วัตถุที่มีความต้านทานการไหลของไฟฟ้าต่ำ เช่น ทองแดง มีหน่วยวัดเป็นโอห์ม

ฉนวน คือ วัตถุที่มีความต้านทานการไหลของไฟฟ้าสูง เช่น พลาสติก ยาง

อัตราการไหลของไฟฟ้า หรือ กระแสไฟฟ้า จะมีหน่วยวัดเป็นแอมแปร์ (แอมป์)  1 แอมป์ มีค่าเท่ากับอิเล็กตรอน จำนวน 6.28 พันล้านล้านตัว ที่วิ่งผ่านจุดจุดหนึ่งในเวลาหนึ่งวินาที

แรงดันไฟฟ้าที่ทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำมีหน่วยวัดเป็นโวลต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก และ หลอดไฟแสงสว่างจะทำงานที่แรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ หรือ 120 โวลต์ในบางประเทศ ส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้งานหนักๆ จะใช้ 380 โวลต์

ปริมาณพลังงาน หรือ กำลังงานที่เกิดจากแรงดันของกระแสไฟฟ้าจำนวนหนึ่งไปยังหลอดไฟ หรือ อุปกรณ์ไฟฟ้ามีหน่วยวัดเป็นวัตต์ การคำนวณหาจำนวนวัตต์ทำโดยเอาแอมแปร์ (กระแส) มาคูณด้วยโวลต์ (แรงดัน) เช่น กระแส 0.28 แอมป์ที่แรงดัน 220 โวลต์ จะให้กำลังไฟฟ้าเพื่อจุดหลอด 60 วัตต์ได้ พลังงาน 1,000 วัตต์เท่ากับ 1 กิโลวัตต์ หรือ 1 กิโลวัตต์ที่ใช้ในเวลา 1 ชั่วโมง เรียกว่า 1 กิโลวัตต์-ชั่วโมง (kWh) ซึ่งเป็นหน่วยวัดมาตรฐานที่มีประโยชน์ในการคำนวณคิดค่ากระแสไฟฟ้า

ติดตั้งกล้องวงจรปิดด้วยตัวเอง และการเดินสายไฟภายในบ้าน CCTV กล้องวงจรปิด

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การที่ระบบไฟฟ้าจะทำงานได้ กระแสไฟต้องไหลครบวงจร (วงจรปิด) โดยจะไหลจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น หลอดไฟ หรือ ไหลวนกับที่แหล่งจ่ายอีกครั้ง (สายนิวทรัล) แต่ถ้าหลอดไฟดับ หรือ กล้องวงจรปิดดับ แสดงว่ามีการยกสวิตช์ทำให้วงจรปิด กระแสไฟฟ้าจึงหยุดไหล

วงจรแสงสว่างตามบ้านเรือน กระแสไฟฟ้าจะไหลด้วยแรงดัน 220 โวลต์ จากตัวนำกระแสไฟฟ้าจะไหลด้วยแรงดัน 220 โวลต์ จากตัวนำกระแสที่แผงควบคุมวงจรหลัก ผ่านสายไฟ (มักเป็นสีดำ หรือ แดง) ไปยังหลอดไฟ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงกระแส และ แรงดันไฟฟ้าให้เป็นความร้อน และ แสงสว่าง สายเส้นศูนย์ หรือ นิวทรัลจากขั้วหลอดไฟ (สายสีขาว) จะนำกระแสซึ่งมีแรงดันไฟฟ้าเหลือศูนย์กลับไปขั้วต่อสายดิน ส่วนสายดิน (สายสีเขียว หรือ ทองแดงเปลือย) ซึ่งต่อคู่กับสายไฟ และ สายนิวทรัลจะนำกระแสไฟที่ผิดปกติลงดินอย่างปลอดภัย

วิธีการนำไฟฟ้าเข้ามาใช้ในบ้าน กระแสไฟฟ้าผลิตมาจากโรงไฟฟ้า และ ถูกส่งไปตามบ้านในวิธีการที่เรียกว่า กระแสสลับ (AC) เนื่องจากการไหลของกระแสเปลี่ยนทิศทางกลับไกลับมา 50 รอบต่อวินาที (แบตเตอรี หรือ ไปฉายให้กระแสตรง) กระแสไฟฟ้าจะเดินทางผ่านสายไฟฟ้าแรงสูงมายังสถานีย่อยที่ติดตั้งหม้อแปลง เพื่อลดแรงดันไฟฟ้าลงจนเหลือ 220 หรือ 380 โวลต์ แล้วจึงจ่ายเข้าสายสู่ชุมชน

ติดตั้งกล้องวงจรปิดด้วยตัวเอง และการเดินสายไฟภายในบ้าน CCTV กล้องวงจรปิด

ในเมืองไทยบ้านสมัยใหม่มีการติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV โดยจะใช้กระแสไฟฟ้า 15-100 แอมป์ แบบเฟสเดียว 220 โวลต์ ส่วนสำนักงาน หรือ อาคารใหญ่จะใช้เพิ่มเป็น 200-1,000 แอมป์ มักเป็นแบบ 3 เฟส การไฟฟ้ากำหนดให้เดินสายระบบไฟภายในอาคาร โดยให้อุปกรณ์ และ เต้ารับทุกจุดต่อสายลงดินเพื่อความปลอดภัยพร้อมให้ใช้สายไฟฟ้าชนิด 3 แกน (มีสายไฟ สายนิวทรัล และ สายดินในตัว) บ้านที่เก่ากว่า (ใช้กระแสไฟฟ้า 5 แอมป์) มักใช้สายเคเบิล 2 แกน VAF หรือ สายตีกิ๊บ และ มักไม่ต่อสายลงดิน

กระแสไฟฟ้านำจ่ายสู่บ้านเรือนผ่าสายที่อยู่เหนือศีรษะจากเสาไฟฟ้าที่ใกล้ที่สุดมายังหัวต่อสายเข้าบ้าน โดยต่อประกบกับชุดสายนำไฟเข้า สายนี้จะผ่านมาตรวัดไฟ เพื่อบันทึกปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ แล้วจึงต่อโยงเข้ากับแผงควบคุมวงจรหลัก ซึ่งจะแยก และ กระจายสู่วงจรย่อยๆ ภายในบ้าน หรือ อาจวางสายนำจ่ายร้อยท่อฝังดินเข้าบ้าน

ติดตั้งกล้องวงจรปิดด้วยตัวเอง และการเดินสายไฟภายในบ้าน CCTV กล้องวงจรปิด

ที่มา: หนังสือซ่อมบ้านอย่างรู้ทันช่าง

Related link :กล้องโดม และCircuit Breaker และ Duse สำหรับ CCTV ใช้ในงานเดินสายไฟกล้องวงจรปิด

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *