ตัวแทนจำหน่ายกล้องวงจรปิด

ตัวแทนจำหน่ายกล้องวงจรปิด กับจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์

จริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์

จริยธรรม เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับหลักในการประพฤติปฏิบัติตนของมนุษย์ ที่มุ่งเน้นแต่ การทําดี คิดดี ซึ่งทางด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์แล้ว

จริยธรรมเป็นสิ่งสําคัญประการหนึ่งที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนควร ตัวแทนจำหน่ายกล้องวงจรปิดจะตระหนักถึงตลอดเวลา เพื่อไม่ให้มีการใช้ความสามารถในทางคอมพิวเตอร์ไปในทางที่ผิด อันจะก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคลอื่นได้

จริยธรรมและกฎหมาย (Ethics and Laws)

ข้อกําหนดในการใช้คอมพิวเตอร์นั้นถูกกําหนดกฏเกณฑ์และสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลไว้ด้วย 2 วิธี คือ กําหนดด้วย จริยธรรมและกําหนดด้วยกฎหมาย ซึ่งทั้ง 2 วิธีการนี้มีจุดประสงค์เดียวกันคือ การสร้างความเป็นระเบียบและความเรียบร้อย

รวมทั้งคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในระบบสารสนเทศ แต่ทั้งจริยธรรมและกฎหมายนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมากในหลาย ประเด็นซึ่งเกิดเป็นปัญหาขึ้น จริยธรรมอาจจะครอบคลุม หรือไม่ครอบคลุมโดยกฎหมายก็ได้ ดังรายละเอียดในตารางต่อไป

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

ตัวแทนจำหน่ายกล้องวงจรปิด

ซ่อมแซมกล้องวงจรปิด

ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์

ในโลกนี้มีหลักจริยธรรมและหลักกฎหมายที่เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนของมนุษย์อยู่มากมาย แตกต่างกัน ไปตามแต่ละประเทศ ขึ้นอยู่กับขนบธรรมเนียม

วัฒนธรรมและประเพณีของประเทศนั้นๆ แต่สําหรับในยุคปัจจุบันที่มีเทคโนโลยีใหม่ๆ มากมาย โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสารสนเทศ

ซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถีการดําเนินชีวิต ของมนุษย์ให้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชัด สิ่งที่ตามมาคือ ปัญหาในประเด็นต่างๆ ที่เกิดจากการนําเทคโนโลยี และระบบสารสนเทศเหล่านี้เข้ามาใช้งาน

ซึ่งมีความเกี่ยวข้องในทางจริยธรรมประเด็นต่างๆ ได้แก่ สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) ความถูกต้อง (Accuracy) ความเป็นเจ้าของ (Property) และการเข้าถึง (Access)

สิทธิส่วนบุคคล (Privacy)

ระบบสารสนเทศอาจส่งผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านด้วยกัน คือ ด้านกายภาพ (Physical Privacy) และ ด้านสารสนเทศ (Information Privacy)

– สิทธิส่วนบุคคลทางด้านกายภาพ (Physical Privacy)

หมายถึง สิทธิในสถานที่ เวลา และสินทรัพย์ที่บุคคลพึงมี เพื่อหลีกเลี่ยงจากการถูกก้าวก่ายหรือถูกรบกวน จากบุคคลอื่น จากการพัฒนาความสามารถให้เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทําให้ ผู้ใช้มีช่องทางที่จะรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคลผู้อื่นได้สะดวกขึ้น เช่น การส่งจดหมายขยะ (Junk Mail) การส่ง จดหมายเวียนหรือที่เรียกว่า “Spam Mail” เป็นต้น

ดังนั้นผู้ใช้งานในระบบสารสนเทศต่างๆ จึงควรตระหนัก ถึงข้อนี้ด้วย เพื่อไม่ให้เป็นการรบกวนและรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคลผู้อื่นจนเกินไปซึ่งนอกจากการส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์แล้ว ยังมีการใช้อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ เพื่อรบกวนบุคคลอื่นอีกด้วย

– สิทธิส่วนบุคคลทางด้านสารสนเทศ (Information Privacy)

สิทธิส่วนบุคคลทางด้านสารสนเทศในที่นี้ คือ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวบุคคล เช่น ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต เลขที่บัญชี เป็นต้น ที่บุคคลอื่นจะไม่สามารถนําไปเปิดเผยได้หากไม่ได้รับอนุญาต

ปัจจุบันหน่วยงานราชการหรือเอกชนได้มีการจัดเก็บข้อมูลของประชาชนหรือลูกค้าบางส่วนไว้ในฐานข้อมูล เช่น หน่วยงานทะเบียนราษฎร์ หรือบริษัทให้สินเชื่อ บัตรเครดิต เป็นต้น

ซึ่งข้อมูลที่หน่วยงานต่างๆ ได้รับ สิทธิ์ในการจัดเก็บไว้นั้น หากมองโดยภาพรวมแล้ว จะทําให้ทราบถึงสถานะความเป็นอยู่ของลูกค้าหรือ ประชาชนได้ ถึงแม้ว่าระบบสารสนเทศจะทําให้การจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลมีความปลอดภัยเป็นอย่างดี แล้วก็ตาม

แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเองก็ทําให้ผู้ใช้บางคนที่อยู่ในหน่วยงานที่ประชาชนหรือลูกค้าให้ความไว้ วางใจ ลักลอบเข้าไปใช้ข้อมูลเหล่านั้นในฐานข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต

ทั้งนี้เพื่อนําไปเผยแพร่ในทางอื่นอัน ไม่สมควร จากการกระทําดังกล่าวทําให้ลูกค้าได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก และต้องการให้มีการคุ้มครอง สิทธิส่วนบุคคลทางด้านสารสนเทศเหล่านี้ให้มากยิ่งขึ้น

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

ความถูกต้อง (Accuracy)

ความถูกต้องของข้อมูลและสารสนเทศที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลของระบบสารสนเทศต่างๆ มีความสําคัญเป็น อย่างมาก ซึ่งนอกจากข้อมูลและสารสนเทศนั้นจะต้องมีความถูกต้องแล้ว

ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้นําเสนอสารสนเทศต่างๆ ยัง จะต้องนําเสนอสารสนเทศนั้นโดยไม่ผิดเพี้ยนหรือไม่มีการบิดเบือนให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจผิดได้ ทั้งนี้ หากสารสนเทศเกี่ยว

กับบุคคลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลมีความผิดพลาดอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลนั้นได้ เช่น ข้อมูลรายได้ประจําของลูก ค้า จาก 20,000 บาท แต่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล เป็น 2,000 บาท

และเมื่อนํามาพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ ก็จะทําให้ลูกค้าดัง กล่าวไม่ได้รับการพิจารณาและเสียโอกาสไปในที่สุด

หรือในกรณีข้อมูลยอดที่ต้องชําระค่าบริการโทรศัพท์เกิดความ ผิด พลาด และหากลูกค้าไม่ได้ตรวจสอบยอดค่าบริการดังกล่าว ก็จะทําให้ลูกค้าต้องชําระเงินมากกว่าความเป็นจริง ซึ่งไม่ยุติ ธรรมต่อลูกค้า เป็นต้น

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Rights)

ในระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศซอฟต์แวร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อการค้านั้น จําเป็นต้องได้รับความ ค้มครองในความเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์นั้นๆ ในฐานะที่เป็น “ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)” ของผู้ผลิต ทั้งนี้

เนื่องจากในการผลิตต้องใช้เงินลงทุนและกําลังคนเป็นจํานวนมาก หากซอฟต์แวร์หรือแม้กระทั่งเครื่องหมายการค้าถูกลักลอบ ทําสําเนา ทําซ้ำ หรือปลอมแปลงเพื่อนําไปขายต่อ ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของผู้ทําการผลิตมากมายมหาศาล ทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

– ลิขสิทธิ์ (Copyrights)

 ลิขสิทธิ์เป็นการให้สิทธิ์แก่ผู้ผลิตหรือผู้ประดิษฐ์แต่เพียงผู้เดียวที่จะสามารถทําการจําลอง คัดลอก โฆษณา หรือขายสิ่งที่สร้างหรือประดิษฐ์ขึ้น สําหรับการละเมิดลิขสิทธิ์โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์

ทางด้านซอฟต์แวร์ (Software Piracy) ซึ่งจะเป็นการคัดลอกหรือผลิตซอฟต์แวร์ซ้ำกับซอฟ จดลิขสิทธิ์ไว้แล้ว โดยการละเมิดกล้องวงจรปิดลิขสิทธิซอฟต์แวร์จะถือว่าเป็นการกระทาผิดกฎหมายตามพระราชบัญัติ

– เครื่องหมายทางการค้า (Trademark)

เครื่องหมายทางการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นเครื่องหมายเกี่ยวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น

– สิทธิบัตร (Patent)

สิทธิบัตร หมายถึง สิทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการแส ประโยชน์จากการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น เช่น การผลิตและจําหน่าย เป็นต้น

ปัญหาในประเด็นทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้น มีความเกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณในการใช้งานคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ ที่พึงมี เพื่อไม่ก่อความเสียหายให้ผู้อื่น ดังรายละเอียดในหัวข้อต่อไป

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

จรรยาบรรณในการใช้งานคอมพิวเตอร์

จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกําหนดขึ้นเพื่อรักษาและ ส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก เช่น จรรยาบรรณของแพทย์ จรรยาบรรณของครู-อาจารย์ หรือจรรยาบรรณ ของผู้สื่อข่าว เป็นต้น

ในวงการคอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน ผู้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มีหลายอาชีพ แต่ละอาชีพก็จะ ต้องมีจรรยาบรรณเพื่อเป็นขอบเขตในการประพฤติตนของผู้ที่ประกอบอาชีพนั้น เช่น จรรยาบรรณของนักวิเคราะห์ระบบที่

ควรจดจําไว้เสมอว่า ไม่ควรเปิดเผยความลับของบริษัทที่ตนทําหน้าที่นักวิเคราะห์ระบบอยู่ หรือจรรยาบรรณของโปรแกรมเมอร์ ก็เช่นเดียวกัน ไม่ควรเขียนโปรแกรมไวรัสแนบไปกับโปรแกรมที่กําลังพัฒนาให้กับบริษัท เป็นต้น

สําหรับผู้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ทั่วไป ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ประกอบอาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์โดยตรงก็ตาม แต่การใช้คอมพิวเตอร์ไปในทางที่ผิด ก็อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่นได้เช่นกัน 

ดังนั้น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงควรปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์ มีดังนี้

1. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อก่ออาชญากรรมหรือละเมิดสิทธิของผู้อื่น

2. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนผู้อื่น

3. จะต้องไม่ทําการสอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูไฟล์เอกสารของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต

4. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการโจรกรรมข้อมูล ข่าวสาร

5. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานเท็จ

6. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการคัดลอกโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์

7. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์

8. จะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนําเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง

9. จะต้องคํานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ที่จะตามมาจากการกระทํานั้น

10. จะต้องใช้คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาท

 
 

Related link :  ร้านจำหน่ายรั้วไฟฟ้ากันขโมย    ช่างติดตั้งสัญญาณกันขโมยไร้สาย

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *