กล้องวงจรปิดในห้าง

กล้องวงจรปิดในห้าง เทคนิคการตรวจสอบระบบบริการ

ในการดำเนินงานเกี่ยวกับการจำเป็นต้องมีการตรวจสอบระบบบริการ และ อำนวยความสะดวก ในด้านต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัย ทั้งตัวพนักงาน และ ช่างติดตั้งกล้องวงจรปิด

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

กล้องวงจรปิด cctv กับเทคนิคการตรวจสอบระบบบริการ และ อำนวยความสะดวก

 

ระบบลิฟต์ การใช้งานที่ถูกต้อง และ ความปลอดภัย

  1. หลักการทำงานของลิฟต์ หลายคนเชื่อว่า ลิฟต์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานสูงมากในอาคาร ทำให้หลายอาคารหยุดการใช้ระบบลิฟต์ หรือ

    เปิดใช้ลิฟต์เป็นบางเวลา ความเชื่อเหล่านี้เป็นไปตามการบอกเล่าที่ไม่ได้มีการพิสูจน์ถึงความจริงของการใช้ลิฟต์ทำให้ระบบลิฟต์เมื่อใช้งานแล้วไม่ปลอดภัยจากความเชื่อดังกล่าว

    เจ้าของอาคารลงทุนซื้อลิฟต์มาติดตั้งในอาคารแต่ไม่ใช้ลิฟต์ให้ถูกวิธี สิ่งที่ตามมาคือความไม่ปลอดภัยในการใช้งาน สาเหตุที่ลิฟต์ติดค้างส่วนใหญ่ เกิดจากการใช้งาน และ บำรุงรักษาที่ไม่ถูกต้องทั้งสิ้น

    หากผู้ใช้ลิฟต์ทราบถึงกลไกของลิฟต์ และ หลักการทำงานที่ถูกต้องของลิฟต์ ก็จะพบว่าลิฟต์ได้ถูกออกแบบไว้ให้เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความปลอดภัยสูงมาก

  2. อุปกรณ์สำคัญของลิฟต์ที่ทำให้ลิฟต์สามารถขับเคลื่อนได้ประกอบด้วย
    • ห้องเครื่องลิฟต์
    • รางบังคับลิฟต์ และ ปล่องลิฟต์
    • อุปกรณ์ควบคุมการทำงานของลิฟต์
    • ระบบไฟฟ้า

  3. ความปลอดภัยในการใช้ลิฟต์ ลิฟต์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ขนส่งผู้โดยสารในแนวดิ่ง ผู้ผลิตต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้งาน ดังนั้น กลอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยต่าง ๆ จะต้องทำงานอย่างถูกต้อง

    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลอุปกรณ์ควบคุมเปิด-ปิดประตู เป็นต้น ดังนั้นอาคารต่าง ๆ ควรมีเจ้าหน้าที่เรียนรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้โดยสารเมื่อลิฟต์ติดค้าง

  4. ลิฟต์ใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อนกี่บาทต่อครั้งการใช้งาน ลิฟต์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานสูง ลิฟต์ถูกออกแบบไว้ให้ได้เปรียบเชิงกล และ ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยที่สุด

    ลิฟต์จะใช้พลังงานไม่ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ของการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคาร โดยในบางช่วงของการเคลื่อนที่ อาคารอาจได้ไฟฟ้าจาการขับเคลื่อนของลิฟต์ด้วย หมายถึง มอเตอร์ขับเคลื่อนลิฟต์ทำหน้าที่เป็นทั้งไดนาโม และ

    มอเตอร์ในคราวเดียวกัน ลิฟต์จะใช้พลังงานไฟฟ้ากับระบบเบรค เพื่อชะลอความเร็วให้ลิฟต์จอดชั้นที่ต้องการอย่างปลอดภัย

  5. การตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยในการใช้ลิฟต์
    • ตรวจสอบห้องเครื่องลิฟต์ และ อุปกรณ์
    • ตรวจสอบปล่องลิฟต์ บ่อลิฟต์ และ อุปกรณ์
    • ตรวจสอบตัวลิฟต์ และ อุปกรณ์
    • ตรวจสอบประวัติการทดสอบ และ การตรวจสอบบำรุงรักษา

กล้องวงจรปิด cctv กับเทคนิคการตรวจสอบระบบบริการ และ อำนวยความสะดวก

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

กล้องวงจรปิดในห้าง

ระบบบันไดเลื่อน

  1. บันไดเลื่อน คือ เครื่องจักรกลที่ไม่ซับซ้อน มีราคาแพง การขนส่งด้วยสายพานแบบหนึ่งที่ใช้ขั้นบันไดในการลำเลียงคนจำนวนมากด้วยความเร็วที่เหมาะสม และ คงที่

  2. การทำงานของบันไดเลื่อน จะใช้โซ่ที่มีข้อต่อ 1 คู่ คล้องผ่านเกียร์ หรือ เฟือง 2 คู่ เฟืองจะขับบันไดเลื่อนที่เรียงต่อกันหลาย ๆ ชั้น ด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าด้วยความเร็วที่คงที่ และ

    เพื่อให้บันไดเลื่อนมีความปลอดภัยในการใช้งาน ราวบันไดจะถูกอออกแบบมาให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกันกับบันไดด้วย

  3. ขั้นบันได บันไดเลื่อนจะมีขนาดลูกตั้ง และ ลูกนอนมากกว่าขั้นบันไดที่ใช้ในการขึ้นลงของอาคาร เพื่อให้ขันบันไดสามารถเลื่อนไปบนทางวิ่งของขั้นบันไดที่ออกแบบให้เป็นวงตามความยาวของบันได

    เพื่อให้ขั้นบันไดเคลื่อนที่อย่างต่อเนื่อง ไม่หลุดออกจากกกัน และ ไม่หลุดจากทางวิ่งของขั้นบันได ทุดขั้นบันไดจึงมีลักษณะเป็นซี่ และ ร่อง เพื่อให้บันไดทุดขั้นขบกันอย่างต่อเนื่อง

  4. ความสามารถของบันไดเลื่อน ในการขนส่งผู้โดยสาร ด้วยความกว้าง และ ความเร็วของบันไดทำให้สามารถขนผู้โดยสารได้มาก และ เร็วขึ้น

  5. ความปลอดภัยของบันไดเลื่อน เป็นเครื่องจักรที่ออกแบบให้มีความปลอดภัยในการใช้งานที่มีผู้โดยสารเคลื่อนที่ไปด้วย ผู้ผลิตจะติดตั้งอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยไว้ที่จุดต่าง ๆ ของบันได กลอุปกรณ์

    เพื่ความปลอดภัยก็จะหยุดบันไดด้วย และ ยังมีกลอุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย เพื่อป้องกันไม่ให้ขั้นบันไดได้รับแรงกระแทกจนบันไดชำรุด และ การเคลื่อนที่ของบันไดเลื่อนที่ผิดปกติ

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

ดังนั้น เครื่องจักรกลบันไดเลื่อนที่เคลื่อนที่ไปโดยมีผู้โดยสาร จะต้องออกแบบให้ปลอดภัย และ สะดวกในการใช้งาน จะต้องง่ายในการเคลื่อนที่ และ ไม่ซับซ้อน 

ราคาทุนกล้องวงจรปิด

ระบบไฟฟ้า

เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดอันตรายที่เกิดได้ทั้งกับคน และ ทรัพย์สิน การตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยจึงเป็นการตรวจหาว่ามีโอกาสที่จะเกิดอันตรายจากไฟฟ้า หรือ ไม่

เพื่อให้ผู้ดูแลอาคารได้ทำการแก้ไข มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า และ ตรวจว่ายังคงสภาพที่ใช้งานได้ดี หรือ ไม่ด้วย การตรวจในเบื้องต้นทำได้โดยการตรวจด้วยสายตา การตรวจที่ละเอียดลงไปได้อีกจะทำได้ต้องใช้เครื่องมือประกอบ

กล้องวงจรปิด cctv กับเทคนิคการตรวจสอบระบบบริการ และ อำนวยความสะดวก

  1. แบบไฟฟ้า แบบที่แสดงรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งขนาด และ พิกัดของอุปกรณ์การเดินสาย สถานประกอบการควรมีแบบไฟฟ้าเพื่อให้สามารถใช้งานบำรุงรักษา และ

    ตรวจสอบสะดวก และ ปลอดภัย ผู้ตรวจสอบควรตรวจสอบว่าสถานประกอบการมีแบบไฟฟ้า หรือ ไม่ ถูกต้องตรงตามสภาพปัจจุบัน ได้รับการรับรองจากวิศวกรรมไฟฟ้า หรือ หน่วยงานราชการที่มีอำนาจ

  2. การตรวจสอบระบบสายอากาศแรงสูง

    • เสาไฟฟ้า ตรวจสอบสภาพความแข็งแรงของเสาไฟฟ้าต้องอยู่ในสภาพดี ไม่มีรอยบิ่น แตกร้าว หรือ เอน แต่ถ้าเป็นเสาไม้ต้องดูว่าผุ หรือ ไม่

    • สายไฟฟ้า ระบบแรงสูงแบ่งออกเป็นสายเปลือย สายหุ้มฉนวนไม่เต็มพิกัด สายแรงสูงหุ้มฉนวนสองชั้นไม่เต็มพิกัด และ สายหุ้มฉนวนเต็มพิกัด ปัจจุบันสายเปลือยไม่ค่อยมีใช้งาน เนื่องจากมีอันตรายสูงจากการสัมผัส

    • การต่อลงดินของอุปกรณ์ สำหรับติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าบนเสาไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์โลหะ ต้องมีการตรวจสอบว่ามีการต่อลงดิน สายดินอยู่ในสภาพดี ไม่ขาด

      จุดต่อสายดินกับหลักดินยังมั่นคงแข็งแรง ไม่หลุด ไม่หลวม และ ไม่เป็นสนิม การต่อลงดินนี้จะเดินสายดินจากอุปกรณ์ที่บนเสามาลงดินที่โคนเสาไฟฟ้า

  3. การตรวจระบบสายอากาศแรงต่ำ
    • เสาไฟฟ้า การเสาไฟฟ้าแรงต่ำ ตรวจ เช่น เดียวกับเสาไฟฟ้าระบบแรงสูง

    • สายไฟฟ้า สายไฟฟ้าระบบแรงต่ำที่ใช้กันทั่วไปเป็นสายที่มีฉนวนเป็นพีวีซี เมื่ออยู่กลางแจ้ง และ ใช้งานเป็นเวลานานฉนวนจะกรอบแตก

      การติดตั้งโดยปกติจะยึดด้วยลูกถ้วย หรือ ลูกรอก สิ่งที่ควรสังเกตเพิ่มเติมคือสายไฟฟ้ามักหลุดออกจากลูกถ้วย หรือ ลูกรอกเนื่องจากสายที่ผูกรัดขาดทำให้ฉนวนเกิดการชำรุด และ

      เกิดไฟฟ้ารั่วเป็นอันตรายต่อบุคคลที่สัมผัส

  4. การตรวจหม้อแปลง และ การติดตั้ง

    • ห้องหม้อแปลง ตรวจสภาพห้องว่ามีร่องรอยของการทรุด ผนังแตกร้าว หรือ ไม่ การระบายอากาศอย่างเพียงพอ หรือ ไม่ ถังดับเพลิงต้องมีติดอยู่หน้าห้อง และ

      เป็นถังดับเพลิงชนิดที่ใช้สำหรับงานไฟฟ้า และ ต้องตรวจสภาพว่าพร้อมใช้งาน ป้ายเตือน ต้องมีป้ายเตือนอันตรายจากไฟฟ้า ติดที่ผนังด้านนอกของห้องหม้อแปลงด้วย ป้ายต้องติดอย่างมั่นคง

    • นั่งร้านหม้อแปลง ตรวจสภาพเสาไฟฟ้า คาน และ อุปกรณ์ประกอบ เช่น เดียวกับเสาไฟฟ้าระบบแรงสูง

    • ลานหม้อแปลง หม้อแปลงที่วางบนพื้น จะต้องมีรั้วล้อมรอบกันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปใกล้ส่วนที่มีไฟฟ้า สภาพรั้วต้องไม่ชำรุด ไม่ผุกร่อน การต่อลงดิน

      ทุกส่วนที่เป็นโลหะของรั้วต้องต่อลงดิน ต้องแปตรวจจุดต่อต่าง ๆ ว่าอยู่ในสภาพดี ป้ายเตือน ต้องมีป้ายเตือนอันตรายจากไฟฟ้าติดผนังด้านนอกของลานหม้อแปลงด้วยติดอย่างมั่นคง ตัวหนังสือไม่เลือน

    • การติดตั้งล่อฟ้า ทำหน้าที่ดักแรงดันไฟฟ้าสูงเกินไม่ให้เข้าไปทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุด แรงดันสูงเกินส่วนใหญ่เกิดจากฟ้าผ่า ล่อฟ้าจึงติดตั้งก่อนที่สายไฟฟ้าจะต่อเข้าอุปกรณ์ เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า

      การตรวจสภาพทั่วไปด้วยสายตาว่าฉนวนแตก บิ่น หรือ ชำรุดมีคราบเขม่า หรือ ไม่ และ ต้องมีการต่อลงดินด้วย ต้องตรวจสภาพสายดิน

      จุดต่อสายดินกับหลักดินซึ่งต้องอยู่ในสภาพดี การต่อลงดินจะทำโดยการต่อกับตัวถังหม้อแปลง

    • การต่อลงดิน หม้อแปลงไฟฟ้าจะมีการต่อลงดิน 2 ส่วนด้วยกันดังนี้ การต่อลงดินของตัวหม้อแปลง และ การต่อลงดินของสายแรงต่ำ

    • การต่อสาย ควรตรวจจุดต่อสายที่บุชชิงหม้อแปลงทั่งด้านแรงสูงแรงต่ำ สภาพจุดต่อสายต้องไม่ชำรุด และ ไม่เปลี่ยนสี

    • สภาพหม้อแปลง สภาพทั่วไปของหม้อแปลงไฟฟ้า ต้องไม่มีน้ำมันรั่วไหลไม่เป็นสนิม และ ไม่มีร่องรอยชำรุดอื่น ๆ

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

การตรวจแผงเมนสวิตช์

  1. ตัวแผงเมน

    • สภาพทั่วไป ต้องอยู่ในสภาพดี ไม่ผุกร่อน สามารถป้องกันการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้าได้ และ กันฝนได้ถ้าติดตั้งกลางแจ้งควรมีฝาปิด และ สามารถล็อกได้
    • สถานที่ตั้ง ต้องตรวจดูฐานที่ตั้งไม่ทรุด หรือ อยู่ในสถานที่ซึ่งน้ำอาจท่วมได้
    • ไดอะแกรม แผงสวิตช์ขนาดใหญ่ ควรมีแผนภาพไดอะแกรมที่หน้าแผง และ มีป้ายชื่ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต่อไปใช้งานด้วย

  2. พื้นที่ว่างเพื่อปฏิบัติงาน และ แสงสว่าง ต้องมีพื้นที่ว่างให้สามารถปฏิบัติงานได้โดยสะดวก ไม่มีสิ่งกีดขวาง มีแสงสว่างที่สามารถมองเห็นอุปกรณ์ ป้ายชื่อ และ ไดอะแกรมอย่างชัดเจน

  3. การต่อลงดิน และ การต่อฝาก ตรวจการต่อลงดินของระบบไฟฟ้า การต่อฝากระหว่างกราวด์บาร์กับนิวทรัลบาร์ และ การต่อฝากระหว่างตัวตู้กับฝาตู้

  4. เซอร์กิตเบรกเกอร์ ควรตรวจขนาด พิกัด ของเซอร์กิตเบรกเกอร์ ขนาด หรือ พิกัดเป็นขนาดการใช้งานของเซอร์กิตเบรกเกอร์กำหนดเป็นแอมแปร์ซึ่งจะระบุไว้ในเบรกเกอร์ สามารถมองเห็นได้ชัดเจน

    พิกัดตัดกระแสลัดวงจร กำหนดเป็นตัวเลขมีหน่วยเป็น KA อาจเขียนไว้ที่ด้านหน้า หรือ ด้านข้างของตัวเซอร์กิตเบรกเกอร์ก็ได้ และ ควรตรวจสภาพเซอร์กิตเบรกเกอร์ต้องไม่ชำรุด

    ก้านโยกไม่หัก และ ไม่แตกร้าว จุดต่อสายที่ขั้วต่อสายของเซอร์กิตเบรกเกอร์ต้องไม่มีร่องรอยชำรุด หรือ หลอมละลายจากความร้อน

  5. ฟิวส์ ต้องตรวจขนาดกระแส และ ค่า IC เช่น เดียวกับเซอร์กิตเบรกเกอร์ สภาพภายนอกต้องไม่เปลี่ยนสี

  6. การตรวจแผงย่อย
    • ตัวแผงเมน
    • พื้นที่ว่างเพื่อปฏิบัติงาน และ แสงสว่าง
    • การต่อลงดิน และ การต่อฝาก
    • เซอร์กิตเบรกเกอร์
    • ฟิวส์

  7. การตรวจการเดินสายแบบต่าง ๆ
    • การเดินสายร้อยท่อ ท่อร้อยสายต้องติดตั้ง และ จับยึดมั่นคงแข็งแรง
    • การเดินสายในรางเดินสาย
    • การเดินสายบนรางเคเบิล
    • บัสเวย์

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

การตรวจอุปกรณ์ไฟฟ้า

  1. การป้องกันอันตรายจากอุปกรณ์ไฟฟ้าจากการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้า การป้องกันอาจใช้วิธีดังนี้ หุ้มฉนวนส่วนที่มีไฟ มีที่กั้น หรือ ใส่ตู้ มีสิ่งกีดขวาง หรือ ทำรั้วกั้น

    อยู่ในระยะที่เอื้อมไม่ถึง และ ควรตรวจสภาพของการป้องกัน ต้องอยู่ในสภาพดี มีความสามารถในการป้องกันที่เหมาะสม

  2. การต่อลงดิน เป็นการป้องกันอันตรายจากการสัมผัสอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ชำรุด หรือ ไฟรั่ว การต่อลงดินต้องทำให้ถูกต้องจึงจะสามารถป้องกันได้ดี ตรวจว่าการต่อลงดินได้ทำอย่างถูกต้อง หรือ ไม่
 
 
 

Related link :   ระบบรักษาความปลอดภัย    ราคาสัญญาณกันขโมยไร้สาย

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *