มือถือดูกล้องวงจรปิด

มือถือดูกล้องวงจรปิด ด้วยการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่งเกิดจากการเชื่อมเครือข่ายย่อยๆ ฐานวนมากเข้าไว้ด้วยกัน ทําให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นชนิดใดหรือขนาดใดก็ตาม

สามารถส่งผ่านและ แลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศซึ่งกันและกันได้ โดยใช้ “โปรโตคอล (Protocol)” ที่มีชื่อว่า “TCP/IP” เป็นมาตรฐานในการ ส่งผ่านข้อมูล โดยการเชื่อมต่อนั้นมีหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นเชื่อมต่อผ่านสายโทรศัพท์ การเชื่อมต่อแบบไร้สาย ตลอดจน การเชื่อมต่อด้วยสัญญาณดาวเทียม

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

มือถือดูกล้องวงจรปิด

มือถือดูกล้องวงจรปิด

              อินเตอร์เน็ตถูกพัฒนาขึ้นโดยกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1969 (ภายใต้ชื่อโครงการ “ARPAnet” – เป็นชื่อย่อของแผนก “Advanced Research Project Agency”) โดยมีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อ แบ่งปันผลงานวิจัยระหว่างกรมการทหาร อุตสาหกรรม และมหาวิทยาลัย (2)

เพื่อจัดเตรียมระบบการติดต่อสื่อสารระหว่าง หน่วยงานต่างๆ ทางทหารให้ยังคงทํางานได้หากถูกโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้น ไม่ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์จะอยู่ที่ใด ก็ตาม จะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ โดยข้อมูลต่างๆ

จะถูกส่งไปยังปลายทางในเครือข่ายด้วยเส้นทางที่มากกว่า 1 เส้นทาง และเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีหลายชนิดซึ่งมีความแตกต่างกันทางด้านระบบปฏิบัติการ ผู้เชี่ยวชาญในยุคนั้นจึงต้องค้นหาวิธี

เพื่อเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน กล้องวงจรปิดทำให้สามารถติดต่อสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ วิธีที่ค้นพบก็คือ การกําหนด มาตรฐาน (Protocol) การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อว่า “TCP/IP (Transmission Control ProtocolInternet Protocol)”

จึงทําให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานทางทหารและมหาวิทยาลัยในสมัยนั้นเชื่อมโยงเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างกันได้ต่อมาได้มีองค์กรทั้งในและต่างประเทศขอเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่าย ARPAnet

เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลเพิ่มมาก ขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก และเรียกชื่อเครือข่ายไร้พรหมแดนนี้ว่า “อินเตอร์เน็ต TCP/IP คือ โปรโตคอลหรือมาตรฐานการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ถูกกําหนดขึ้นเพื่อให้เครื่อง

คอมพิเตอร์ที่ต่างชนิดและต่างเครือข่ายกันสามารถติดต่อสื่อสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้อย่างถูกต้องภายใต้มาตรฐานเดียวกันนี้ โดย TCP (Transmission Control Protocol)

นั้นทําหน้าที่ควบคุมการรับ-ส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางให้ถูกต้องและครบถ้วน ส่วน IP (Internet Protocol) นั้น ทําหน้าที่ค้นหาที่อยู่ของเครื่องปลายทางและเส้นทางเดินของข้อมูลเพื่อไปยังปลายทางที่ต้องการรับข้อมูล

โดยผ่าน Gateway หรือ Router  บนพื้นฐานของโปรโตคอล TCP/IP ด้วยความต้องการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงกันได้ทั่วโลกของอินเตอร์เน็ต ที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จึงทําให้เกิดบริการอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “World Wide Web (WWW)”

ที่ใช้เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารของกลุ่มบุคคลต่างๆ เกิดเป็น “เว็บไซต์ (Web Site)” ของกลุ่มบุคคลเหล่านั้นขึ้นมา โดยทํางานตามมาตรฐานต่างๆ เช่น HTTP, URL, DNS เป็นต้น

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

              การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเป็นการเชื่อมโยงกันของคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย ซึ่งจะต้องอาศัยอุปกรณ์เครือข่าย ประเภทต่างๆ ร่วมทํางานด้วย การติดต่อสื่อสารกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีการอ้างอิงถึงกันด้วยหมายเลขประจํา เครื่องที่จะต้องไม่ซ้ํากัน อุปกรณ์เครือข่ายสําคัญๆ ของกล้องวงจรปิด

เช่น Router จึงจะสามารถค้นหาที่อยู่ปลายทางการส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง หมายเลขดังกล่าวจึงเปรียบเสมือน “ที่อยู่ (Address)” ประจําตัวของแต่ละเครื่อง

ที่จะต้องกําหนดไว้ภายใต้มาตรฐาน เดียวกัน สําหรับโปรโตคอล TCP/IP ที่ใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ไปสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้น จะเรียกหมายเลขดังกล่าวว่า “Internet Protocol Address (IP Address)”

              ดังนั้น เครือข่ายอินเตอร์เน็ตจึงประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีหมายเลข IP Address ไม่ซ้ำกันเลยทั่วโลก การขอเป็น สมาชิกเชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจากเครือข่ายของประเทศอื่นๆ

มีขนาดของเครือข่ายแตกต่างกันออกไป ทําให้ต้องมีหน่วยงานกลางคอยจัดแบ่ง IP Address ออกเป็น Class และลําดับชั้น ตามประเภทและขนาดขององค์กรผู้เป็น สมาชิก

เช่น สมาชิกระดับองค์กรขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก เป็นต้น เพื่อไม่ให้มี IP Address ซ้ำกัน และเพื่อให้องค์กรผู้เป็นสมาชิกเหล่านั้น นํา IP Address ไปแจกจ่ายให้กับสมาชิกย่อยของตนเองต่อไป

สมาชิกย่อยเหล่านั้นก็คือ “ISP (Internet Service Provider)” ผู้ได้รับชุดหมายเลข IP Address มาจากองค์กรหลักๆ ของประเทศเพื่อแจกจ่ายให้ กับบริษัทหรือผู้ใช้ทั่วไป ดังนั้น

บริษัทใดหรือบุคคลใดที่ต้องการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต จะต้องสมัครเป็นสมาชิกกับ ISP รายใดรายหนึ่งเสียก่อน จึงจะได้รับสิทธิให้เชื่อมต่อเครื่องของตนเข้ากับเครือข่ายอื่นๆ ทั่วโลกได้

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

ISP (Internet Service Provider) หมายถึง บริษัทผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแก่ลูกค้า ซึ่งจําแนกเป็นลูกค้าทั่วไปและลูกค้าที่อยู่ในรูปของบริษัท การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตของลูกค้าทั่วไปนั้น

จะอาศัยสายโทรศัพท์โดยหมุนจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังหมายเลขที่ ISP ให้ไว้ภายหลังจากสมัครสมาชิก การหมุนโทรศัพท์จากเครื่องคอมพิวเตอร์จะผ่าน โมเด็ม (Modem)

ซึ่งเป็นอุปกรณ์ส่งสัญญาณข้อมูลไปยัง ISP โดยที่ ISP จะมีอุปกรณ์รับสัญญาณจากลูกค้า ซึ่ง ISP จะ สามารถจําแนกจาก IP Address ในฐานข้อมูลได้ว่ามาจากลูกค้ารายใด และทําการเชื่อมต่อสู่อินเตอร์เน็ตให้กับลูกค้าเป็น ลําดับต่อไป

                ดังนั้น การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต “จึงต้องเริ่มต้นจากสมัครเป็นสมาชิกกับ ISP รายใดรายหนึ่ง จากนั้น ISP จะให้ เบอร์โทรศัพท์สําหรับติดต่อเพื่อใช้งานอินเตอร์เน็ต พร้อมทั้งชื่อผู้ใช้ (User Account) และรหัสผ่าน (Password)

ผู้ใช้สามารถเข้าสู่อินเตอร์เน็ตได้ โดยหมุนโทรศัพท์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านโมเด็มตามเบอร์โทรศัพท์ที่ได้ใน พร้อมทั้งทำการล็อกอิน (Login) เพื่อเข้าสู่อินเตอร์เน็ตผ่านทางเครือข่ายของ ISP นั่นเอง”

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

 

IP Address และ Domain Name

IP Address

              เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ติดต่อสื่อสารกันในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะมี IP Address หรือหมายเลขประจําเครื่องที่ไม่ซ้ํากันใน 1 หมายเลข ประกอบไปด้วยตัวเลข 4 ชุด แต่ละชุดคั่นด้วยเครื่องหมายจุด (“ “) เช่น 192.168.1.1 หรือ 203.107.136.6 เป็นต้น จากตัวอย่างเป็นการเขียนด้วยระบบเลขฐานสิบ ทําให้เข้าใจได้ง่าย

แต่แท้จริงแล้ว ค่าของเลขฐานสิบเมื่อ Router ค้นหา Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์จะแปลงไปเป็นเลขฐานสอง นอกจากนี้ IP Address 1 หมายเลข จะบอกถึงรหัสเครือข่ายและรหัสเครื่องไว้อย่างครบถ้วน เช่น 203.107.136.6 ตัวเลข 3 ชุดแรก (203.107.136) จะบอกถึงรหัสเครือข่าย ส่วนตัวเลขชุดสุดท้าย (คือ 6) จะบอกถึงรหัสเครื่อง เป็นต้น

ตามที่กล่าวไปแล้วว่า IP Address ทั่วโลกนั้นจะถูกแบ่งออกเป็น Class แต่ละ Class สามารถมี Subnet ได้ใน จํานวนที่ได้กําหนดไว้เป็นรหัสเริ่มต้นและสิ้นสุด นอกจากนี้ รหัสดังกล่าวยังสามารถบ่งบอกถึงจํานวนเครื่องลูกข่ายได้อีกด้วย

ส่วนการแบ่งจํานวนชุดของตัวเลขเพื่อบ่งบอกถึงรหัสเครือข่ายและรหัสประจําเครื่องของแต่ละ Class แตกต่างกันได้แก่

– Class A ใช้ตัวเลขชุดแรกบอกรหัสเครือข่าย ดังนั้น ตัวเลข 3 ชุดที่เหลือใช้บอกรหัสประจําเครื่อง

– Class B ใช้ตัวเลข 2 ชุดแรกบอกรหัสเครือข่าย ดังนั้น ตัวเลข 2 ชุดที่เหลือใช้บอกรหัสประจําเครื่อง

– Class C ใช้ตัวเลข 3 ชุดแรกบอกรหัสเครือข่าย ดังนั้น ตัวเลข 1 ชุดที่เหลือใช้บอกรหัสประจําเครื่อง

 
 

Related link :  รั้วไฟฟ้ากันขโมยราคา     สัญญาณกันขโมย

 

สอบถามข้อมูล  สั่งซื้อ ขอใบเสนอราคา

Line: @cctvbangkok.com
ติดต่อทางเมลส์
ติดต่อเฟสบุค
ติดต่อยูทูป

HOT LINE : 081-700-4715, 02-888-3507-8, 081-721-5542

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *